พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
เข้าสู่ระบบ
หน้าแรก
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ค้นหาข้อมูล
เข้าสู่ระบบ
พระกรุวัดตะไกร ...
พระกรุวัดตะไกร หน้ามงคล เนื้อดิน อยุธยา สภาพสมบูรณ์ครับ
พระกรุวัดตะไกร เป็นพระกรุเก่าแก่ของ จ.พระนครศรีอยุธยา ซึ่งเป็นที่นิยมสะสมอย่างกว้างขวางในแวดวงนักนิยมสะสมพระเครื่องพระบูชามาแต่โบราณ ดังมาพร้อมกับพระกริ่งคลองตะเคียน ปัจจุบันเรียกว่าหาดูของแท้ๆ กันค่อนข้างยาก วัดตะไกร ตั้งอยู่ที่คลองสระบัว อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา ปัจจุบันเป็นวัดร้าง ได้ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานของชาติ วัดนี้ไม่ปรากฏหลักฐานว่าใครเป็นผู้สร้าง แม้แต่ในหนังสือคำให้การชาวกรุงเก่าก็ไม่พบชื่อวัด มีเพียงสิ่งก่อสร้างที่หลงเหลือไว้ เช่น เจดีย์ และพระอุโบสถ ทำให้พอสันนิษฐานได้ว่า น่าจะเป็นวัดที่สร้างขึ้นในสมัยอยุธยาเป็นส่วนใหญ่ ประมาณในช่วงแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ และคงมีการบูรณะกันเรื่อยมาตามลำดับ ที่ปรากฏชัดคือในราวสมัยพระเจ้าปราสาททอง เนื่องจากปรากฏพระปรางค์ร้างอยู่องค์หนึ่งแบบสมัยพระเจ้าปราสาททอง
เล่ากันว่าชาวบ้านเจอพระเนื้อดินวัดตะไกรนี้มาราว 100 ปีกว่า แต่ไม่มีผู้ใดสนใจ กระทั่งพบแตกกรุออกมาครั้งแรก เมื่อประมาณ ปี พ.ศ.2470 หลังจากนั้นก็พบทยอยขึ้นจากกรุเรื่อยมา พระที่พบส่วนใหญ่จะเป็นพระเนื้อดินเผา พบเป็นเนื้อชินค่อนข้างน้อย ปรากฏว่าผู้ที่บูชาพระติดตัวต่างก็มีประสบการณ์กันมากในด้านอยู่ยงคงกระพัน โดยเฉพาะในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง จึงได้มีการนำมาขึ้นคอเพราะกลัวภัยสงคราม จากนั้นมา ผู้คนจึงเริ่มแสวงหาและกลายเป็นที่นิยมเรื่อยมา เนื้อหามวลสาร พระกรุวัดตะไกร ที่พบมีทั้งเนื้อดิน เนื้อชิน และ เนื้อชินสนิมแดง แต่พระเนื้อดินเป็นที่นิยมมากกว่า อาจเป็นเพราะมีจำนวนมากกว่า ซึ่งพระบางองค์มีการลงรักปิดทองมาจากกรุก็มี พุทธลักษณะ พุทธลักษณะองค์พระประธานประทับนั่ง แสดงปางมารวิชัย - องค์ที่ติดชัดพระพักตร์จะปรากฏพระเนตร พระนาสิก และพระโอษฐ์ - เส้นสังฆาฏิปรากฏชัดเจน พุทธลักษณะโดยรวมนั้นคล้ายคลึงกัน มีความแตกต่างเล็กน้อย ส่วนพระพักตร์ที่แตกต่างกัน ทำให้เกิดเป็นชื่อเรียกพิมพ์ขององค์พระ โดยสามารถแบ่งได้ทั้งหมด 3 พิมพ์ คือ พิมพ์หน้าครุฑ ซึ่งจัดเป็นพิมพ์ที่นิยมที่สุด พิมพ์หน้าฤาษี และ พิมพ์หน้ามงคล แต่ความนิยมก็อยู่ที่ ‘พระกรุวัดตะไกร พิมพ์หน้าครุฑ’ เนื้อดินเผา เนื่องจากเชื่อกันว่า นอกจากจะอยู่คงแล้ว ยังป้องกันงูพิษได้ด้วย เอกลักษณ์แม่พิมพ์
+++รับประกันพระเเท้สากลตลอดกาลครับ+++
ผู้เข้าชม
1172 ครั้ง
ราคา
-
สถานะ
บูชาแล้ว
โดย
swat
ชื่อร้าน
สุรินทร์ภักดี พระเครื่อง
ร้านค้า
surinpakdee.99wat.com
โทรศัพท์
0870081414
ไอดีไลน์
surinphakdee
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
686-2-299xx-x
พระเชตุพน เนื้อดิน สุโขทัย สภา
พระท่ากระดานน้อย กรุศาลเจ้า รา
พระเชตุพน พิมพ์หน้าโหนก เนื้อด
ผ้ายันต์รอยมือ หลวงปู่ธรรมรังษ
พระนางกำแพง เม็ดน้อยหน่า กรุวั
พระผงของขวัญ วัดปากน้ำ รุ่น 4
พระโพธิจักร หลวงพ่อลี วัดอโศกา
เหรียญหลวงปู่ธรรมรังษี วัดพุทธ
พระร่วงนั่ง เนื้อดิน กรุวัดมหา
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
ลงพระฟรี
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ลืมรหัสผ่าน
ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
Erawan
เปียโน
นรินทร์ ทัพไทย
โต้ง นนทบุรี
tumlawyer
เจริญสุข
someman
Le29Amulet
โกหมู
frank_tum
tongleehae
Zomlazzali
geetar
ตุ๊ก แปดริ้ว
แมวดำ99
Paphon07
โชคเมืองนนท์
ยิ้มสยาม573
เอก พานิชพระเครื่อง
ปราสาทมรกต
somphop
ศิษย์หลวงปู่หมุน
termboon
JO RAYONG
บ้านพระสมเด็จ
บ้านพระหลักร้อย
เนินพระ99
ยุ้ย พลานุภาพ
sakunchart
traveller277
ผู้เข้าชมขณะนี้ 1292 คน
เพิ่มข้อมูล
พระกรุวัดตะไกร หน้ามงคล เนื้อดิน อยุธยา สภาพสมบูรณ์ครับ
ส่งข้อความ
ชื่อพระเครื่อง
พระกรุวัดตะไกร หน้ามงคล เนื้อดิน อยุธยา สภาพสมบูรณ์ครับ
รายละเอียด
พระกรุวัดตะไกร เป็นพระกรุเก่าแก่ของ จ.พระนครศรีอยุธยา ซึ่งเป็นที่นิยมสะสมอย่างกว้างขวางในแวดวงนักนิยมสะสมพระเครื่องพระบูชามาแต่โบราณ ดังมาพร้อมกับพระกริ่งคลองตะเคียน ปัจจุบันเรียกว่าหาดูของแท้ๆ กันค่อนข้างยาก วัดตะไกร ตั้งอยู่ที่คลองสระบัว อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา ปัจจุบันเป็นวัดร้าง ได้ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานของชาติ วัดนี้ไม่ปรากฏหลักฐานว่าใครเป็นผู้สร้าง แม้แต่ในหนังสือคำให้การชาวกรุงเก่าก็ไม่พบชื่อวัด มีเพียงสิ่งก่อสร้างที่หลงเหลือไว้ เช่น เจดีย์ และพระอุโบสถ ทำให้พอสันนิษฐานได้ว่า น่าจะเป็นวัดที่สร้างขึ้นในสมัยอยุธยาเป็นส่วนใหญ่ ประมาณในช่วงแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ และคงมีการบูรณะกันเรื่อยมาตามลำดับ ที่ปรากฏชัดคือในราวสมัยพระเจ้าปราสาททอง เนื่องจากปรากฏพระปรางค์ร้างอยู่องค์หนึ่งแบบสมัยพระเจ้าปราสาททอง
เล่ากันว่าชาวบ้านเจอพระเนื้อดินวัดตะไกรนี้มาราว 100 ปีกว่า แต่ไม่มีผู้ใดสนใจ กระทั่งพบแตกกรุออกมาครั้งแรก เมื่อประมาณ ปี พ.ศ.2470 หลังจากนั้นก็พบทยอยขึ้นจากกรุเรื่อยมา พระที่พบส่วนใหญ่จะเป็นพระเนื้อดินเผา พบเป็นเนื้อชินค่อนข้างน้อย ปรากฏว่าผู้ที่บูชาพระติดตัวต่างก็มีประสบการณ์กันมากในด้านอยู่ยงคงกระพัน โดยเฉพาะในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง จึงได้มีการนำมาขึ้นคอเพราะกลัวภัยสงคราม จากนั้นมา ผู้คนจึงเริ่มแสวงหาและกลายเป็นที่นิยมเรื่อยมา เนื้อหามวลสาร พระกรุวัดตะไกร ที่พบมีทั้งเนื้อดิน เนื้อชิน และ เนื้อชินสนิมแดง แต่พระเนื้อดินเป็นที่นิยมมากกว่า อาจเป็นเพราะมีจำนวนมากกว่า ซึ่งพระบางองค์มีการลงรักปิดทองมาจากกรุก็มี พุทธลักษณะ พุทธลักษณะองค์พระประธานประทับนั่ง แสดงปางมารวิชัย - องค์ที่ติดชัดพระพักตร์จะปรากฏพระเนตร พระนาสิก และพระโอษฐ์ - เส้นสังฆาฏิปรากฏชัดเจน พุทธลักษณะโดยรวมนั้นคล้ายคลึงกัน มีความแตกต่างเล็กน้อย ส่วนพระพักตร์ที่แตกต่างกัน ทำให้เกิดเป็นชื่อเรียกพิมพ์ขององค์พระ โดยสามารถแบ่งได้ทั้งหมด 3 พิมพ์ คือ พิมพ์หน้าครุฑ ซึ่งจัดเป็นพิมพ์ที่นิยมที่สุด พิมพ์หน้าฤาษี และ พิมพ์หน้ามงคล แต่ความนิยมก็อยู่ที่ ‘พระกรุวัดตะไกร พิมพ์หน้าครุฑ’ เนื้อดินเผา เนื่องจากเชื่อกันว่า นอกจากจะอยู่คงแล้ว ยังป้องกันงูพิษได้ด้วย เอกลักษณ์แม่พิมพ์
+++รับประกันพระเเท้สากลตลอดกาลครับ+++
ราคาปัจจุบัน
-
จำนวนผู้เข้าชม
1173 ครั้ง
สถานะ
บูชาแล้ว
โดย
swat
ชื่อร้าน
สุรินทร์ภักดี พระเครื่อง
URL
http://www.surinpakdee.99wat.com
เบอร์โทรศัพท์
0870081414
ID LINE
surinphakdee
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกสิกรไทย / 686-2-299xx-x
กำลังโหลดข้อมูล
หน้าแรกลงพระฟรี